มุมอีสานสนเทศ
ค้นหา:     ค้นหาขั้นสูง
เลือกดูตามหมวดหมู่:
English Version

ศาลเจ้าพ่อมอดินแดง เนื้อหาบทความ

ศาลเจ้าพ่อมอดินแดง

แสดงผล: 568
ลงคะแนน: 0
วันที่สร้าง: 30 Jun, 2010
ผู้สร้าง :
วันที่ปรับปรุง : 15 Dec, 2011
ผู้แก้ไขปรับปรุง : นายิกา N.

         

ศาลเจ้าพ่อมอดินแดง : ประวัติและความเป็นมา

           ตามบทสัมภาษณ์ ผศเข้มแข็ง  สีตะเธนี ตำนานของศาลเจ้าพ่อมอดินแดงมีอยู่ว่า  มีชายไทยคนหนึ่งชื่อว่า นายเหลา  สีแดง ไปขโมยช้างมาจากบุรีรัมย์แล้วเจ้าของตามมาฆ่าในเขตมหาวิทยาลัย  ถูกนำตัวฝังทั้งยืนจึงกลายเป็นเจ้าพ่อมอดินแดง  ในระยะแรกๆนั้นเกิดอุบัติเหตุบ่อย คณาจารย์ของมหาวิทยาลัยขอนแก่นชุดหนึ่งก็ประสบอุบัติเหตุทางรถเสียชีวิตหลายท่านก็เลยได้มีการสร้างศาลเจ้าพ่อมอดินแดงขึ้นมาในสมัยศาสตราจารย์ ดร.พิมล  กลกิจเพื่อความเป็นสิริมงคล
           ประวัติของเจ้าพ่อมอดินแดงนั้นมีการพบปมที่เกิดขี้นสองอย่างแรก คือ ประการหนึ่งนายเหลาเป็นเจ้าของช้างแล้วมีคนขโมยช้างมา นายเหลาตามมาหาช้างเลยถูกยิงตายที่พื้นที่อาณาบริเวณของมหาวิทยาลัยขอนแก่น  อีกประการหนึ่งคือ นายเหลาเป็นโจรซึ่งไปขโมยช้างคนอื่นมาแล้วโดนเจ้าของช้างมาตามฆ่าตายภายในอาณาเขตพื้นที่มหาวิทยาลัยขอนแก่น

               

                ภาพศาลเจ้าพ่อมอดินแดงเดิมและศาลเจ้าพ่อมอดินแดงปัจจุบัน

          ปี 2547 คณะผู้บริหารมหาวิทยาลัยขอนแก่นได้มีมติเป็นเอกฉันท์ให้ดำเนินการก่อสร้าง  ศาลาธรรมสถาน  เจ้าพ่อมอดินแดง  ขึ้นใหม่โดยนับเนื่องเข้าเป็น  1  ในโครงการเฉลิมฉลองในวาระที่มหาวิทยาลัยสถาปนามาครบ  40  ปี ทั้งนี้ได้มอบหมายให้สมาคมศิษย์เก่ามหาวิทยาลัยขอนแก่น  เป็นแกนนำในการดำเนินงาน  และได้สืบหาความถ่องแท้ในประวัติความเป็นมาขององค์เจ้าพ่อมอดินแดง  ตลอดจนรูปแบบของศาลาธรรมสถานที่จะสร้างจนพอที่จะสรุปสาระพอสังเขปดังนี้

          ในราวพุทธศตวรรษที่  18  มีเจ้าผู้ครองนครพระองค์หนึ่ง  นามว่า  ท้าวแถนสุริยา  ทรงมีขอบขัณฑสีมาแห่งอำนาจบารมี  คือ  พื้นที่จังหวัดขอนแก่นและอาณาบริเวณใกล้เคียงในปัจจุบัน  พระองค์ทรงเปี่ยมไปด้วยศรัทธาปสาทะในบวรพุทธศาสนาอย่างแรงกล้า  จึงครองใจไพร่ฟ้าและดลให้เกิดความอยู่ดีกินดีทั่วหล้า  แบบธรรมาธิปไตย  เหล่ามหามนตรี  จึงพร้อมใจกันถวายสมัญญานาม  เพื่อเป็นการเทิดพระเกียรติคุณให้ระบือไกลว่า  ท้าวแถนสุริยาธรรมาธิราช  และในรัชสมัยของพระองค์นั่นเอง  ที่ได้มีการก่อสร้างพระพุทธรูปประจำพระชนมวารขึ้น  1  องค์  พุทธศิลป์เป็นแบบ  ปางมารวิชัย  มีพุทธลักษณะคล้ายกับพระพุทธรูปยุคเชียงแสน

         สำหรับรูปแบบของ  ศาลาธรรมสถาน  อันควรสง่าตระหง่านสมภูมินั้นก็ได้กำหนดให้เป็นอาคารทรงจัตุรมุขล้อมรอบด้วยระเบียงทั้งด้าน กลางห้องโถงเป็นที่ประดิษฐานองค์พระพุทธปฏิมาปางมารวิชัย  ซึ่งพระครูสุธรรมาภินันท์  เจ้าอาวาสวัดถ้ำพระโพธิสัตว์  ได้ถวายพระนามว่า  พระพุทธปัญญาเมตตาธรรม  สำหรับเป็นที่เคารพสักการะ  ตามจิตปรารถนาแห่งองค์ท่าน  ทั้งยังเป็นสัญลักษณาการโดยปริยายว่า  เจ้าพ่อมอดินแดง  คือ  องค์เทพในบุญเขตนี

ดูเพิ่มเติม

งานสักการะเจ้าพ่อมอดินแดง           

งานวิจัยฉบับเต็ม   

   

แหล่งอ้างอิง

 นิติทัศน์  วิรุณปักษี, เบญจวรรณ  ทรวงโพธิ์, รติพร  วงศ์ศักดิ์, ลลิตา  ชาญชรา, รัตนา  วินทะไชย, สุภาพร  มีอุตส่าห์, สุภาวดี  ปิงแก้ว และอัจฉราพร   อรรคมุด.  (2552).  เจ้าพ่อมอดินแดง : ความเชื่อของนักศึกษา บุคลากร มหาวิทยาลัยขอนแก่น หมู่ 16 ตำบลในเมือง อำเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น.  คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์  มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
ประวัติศาลเจ้าพ่อมอดินแดง. [online] เข้าได้จาก: http://www.khonkaenjob.com/khonkaenjob10.html, 2553.

 

 



ลิขสิทธิ์ © 2012 สงวนลิขสิทธิ์ ห้ามทำซ้ำทั้งหมดหรือบางส่วน ไม่ว่าในรูปแบบใดโดยไม่ได้รับอนุญาตจากผู้ดูแลเว็บไซต์เป็นลายลักษณ์อักษร
ติดต่อผู้ดูแลเว็บไซต์ : somphot@kku.ac.th ผู้พัฒนาโปรแกรม
หมวดหมู่อื่น ๆ
document การละเล่นสะบ้าในประเพณีตรุษไทยภูผาม่าน
document หลวงพ่อพระยืนมิ่งมงคล
document ประเพณีบุญบั้งไฟ อำเภอกระนวน
document พระพุทธรูปโบราณ อำเภอซำสูง
document การศึกษาความเชื่อเกี่ยวกับการใช้ผ้าไหมมัดหมี่ของชาวอำเภอชนบทจังหวัดขอนแก่น
document ความเชื่อเรื่องผ้าไหมมัดหมี่ของชาวอีสาน
document สิม
document ศักยภาพทางเศรษฐกิจของชุมชนหมู่บ้านอีสานจากอดีตถึงปัจจุบัน
document เศรษฐกิจชุมชนหมู่บ้านอีสาน : ประวัติศาสตร์เศรษฐกิจอีสานหลังสงครามโลกครั้งที่สองถึงปัจจุบัน (2488-2544)
document เศรษฐกิจชุมชนหมู่บ้านอีสานใต้ : ความอยู่รอดของชุมชนท่ามกลางกระแสความเปลี่ยนแปลง
document ข้อมูลวัด จังหวัดขอนแก่น
document บุคคลสำคัญทางศาสนา จังหวัดขอนแก่น
document ประเพณีแต่งงานชาวอีสาน (ประเพณีกินดอง)
document รายงานการวิจัยเรื่องศักยภาพของชุมชนอีสาน : กรณีศึกษาบ้านฝาง
document การผลิตบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนเรื่องศิลปวัฒนธรรมในกลุ่มสร้างเสริมประสบการณ์ชีว ิต ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ตอน ศิลปวัฒนธรรมและขนบธรรมเนียมประเพณี
document การสำรวจสถานภาพองค์ความรู้เบื้องต้นจากงานวิจัยเกี่ยวกับวิถีชีวิตทางสังคมและวัฒนธ รรมของกลุ่มชาติพันธุ์ ในภาคอีสาน พ.ศ. 2500-2545
document คติชน : คุณค่าในการท่องเที่ยวชุมชนบ้านโคกม่วง
document ความสัมพันธ์หญิงชายภายใต้กระแสการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม
document ทัศนคติของชาวชนบทอีสานต่อการทำบุญ
document ประเพณี คติความเชื่อมีอิทธิพลต่องานสถาปัตยกรรมพื้นถิ่นอีสาน
document ประเพณีผูกเสี่ยว
document พฤติกรรมการทำบุญของชาวพุทธในเขตอำเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น
document รายงานการวิจัยเรื่องทัศนคติของชาวชนบทอีสานต่อการทำบุญ
document รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์เรื่องรูปแบบศิลปวัฒนธรรมประเพณีการฟ้อนแห่ต้นดอกไม้ : กรณีศึกษาบ้านอาฮี หมู่ที่ 1,6 ตำบลอาฮี อำเภอท่าลี่ จังหวัดเลย
document รายงานวิจัยเรื่องเศรษฐกิจชุมชนหมู่บ้านอีสานห้าทศวรรษหลังสงครามโลกครั้งที่สอง (พ.ศ. 2488-2543) : กรณีศึกษาบ้านบัว จังหวัดสกลนคร
document รายงานวิจัยเรื่องเศรษฐกิจชุมชนหมู่บ้านอีสานห้าทศวรรษหลังสงครามโลกครั้งที่สอง (พ.ศ. 2488-2543) : กรณีศึกษาบ้านโนนม่วง จังหวัดร้อยเอ็ด
document รายงานวิจัยเรื่องเศรษฐกิจชุมชนหมู่บ้านอีสานห้าทศวรรษหลังสงครามโลกครั้งที่สอง (พ.ศ. 2488-2544) : กรณีศึกษาบ้านวังสวาบ จังหวัดขอนแก่น
document วัฒนธรรมอีสานกับการพัฒนา
document วิถีครอบครัวและชุมชนชาติพันธุ์ไทยโย้ย บ้านโพนแพง ตำบลหนองสนม อำเภอวานรนิวาส จังหวัดสกลนคร
document รายงานการวิจัยเรื่องการศึกษาโครงสร้างชุมชนชาติพันธุ์ผู้ไทย บ้านโนนหอม ตำบลโนนหอม อำเภอเมือง จังหวัดสกลนคร
document ความเชื่อเรื่องปู่ตาตะกวดกับวิถีชีวิตของชาวกูยบ้านตรึม ตำบลตรึม อำเภอศรีขรภูมิ จังหวัดสุรินทร์
document ประเพณีและเทศกาลจังหวัดขอนแก่น
document วัดป่าบ้านตาด
document วัดถ้ำกลองเพล
document วัดบูรพาภิราม
document หมู่บ้านวัฒนธรรมผู้ไทยโคกโก่ง
document วัดสุปัฏนารามวรวิหาร
document วัดถ้ำแสงเพชร
document ประเพณีบุญพระเวส หรือบุนพะเหวด
document คติชน : คุณค่าในการท่องเที่ยวชุมชนบ้านโคกม่วง
document พระมงคลมิ่งเมือง (พระยืน)
document รายงานการวิจัยเชิงคุณภาพเรื่องเจ้าพ่อมอดินแดง : ความเชื่อของนักศึกษา บุคลากร มหาวิทยาลัยขอนแก่น หมู่ 16 ตำบลในเมือง อำเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น
document วัดพระบาทภูพานคำ
document สิม (โบสถ์) 2
document สิม (โบสถ์) 1
document หลวงพ่อพระยืนมิ่งมงคล
document ตำราปลูกเฮือน ฉบับวัดบ้านดอนยม ตำบลท่าขอนยาง อำเภอกันทรวิชัย จังหวัดมหาสารคาม
document ตำราปลูกเฮือน ฉบับสำนักสงฆ์อิสระธรรมวิเวก บ้านคกเหลี่ยน-หนองขอน ตำบลวังแสง อำเภอแกดำ จังหวัดมหาสารคาม
document คาถา ต้นฉบับวัดศรีเวียงชัย บ้านดอนเวียงจันทน์ ตำบลท่าขอนยาง อำเภอกันทรวิชัย จังหวัดมหาสารคาม
document คติชน : คุณค่าในการท่องเที่ยวชุมชนบ้านโคกม่วง
document ความเชื่อเกี่ยวกับต้นไม้ของชาวบ้านศึกษาเฉพาะกรณีหมู่บ้านโนนอำนวย อำเภอท่าคันโท จังหวัดกาฬสินธุ์ และหมู่บ้านทุ่งสว่าง อำเภอหนองบัวแดง จังหวัดชัยภูมิ
document ฒ ผู้เฒ่าต้องมอง
document การบริโภคสุนัขในจังหวัดสกลนคร
document การปรับตัวทางวัฒนธรรมของกลุ่มชาติพันธุ์ไทแดง บ้านโพนทอง เมืองนาทรายทอง นะคอนหลวงเวียงจันทน์ สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว
document การแต่งงานข้ามวัฒนธรรมหญิงไทยกับชายญี่ปุ่น
document บทบาทของวัดต่อชุมชนในชนบท จังหวัดขอนแก่น
document ความสัมพันธ์หญิงชายภายใต้กระแสการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม
document เจ้าโคตร : ผู้เว้าแล้วแล้วโลด
document ปราสาทขอมหายไปไหน? เขมรทำลายหรือใครกันแน่
document ภูมิปัญญาพื้นบ้านศาลผีปู่ตา อำเภอสีชมพู จังหวัดขอนแก่น.
document ลำส่องที่พึ่งสุดท้ายของผู้ป่วยในภาคอีสานจริงหรือ?
document สรภัญญ์ : ภูมิปัญญาชาวบ้านกับบทบาทในสังคมอีสาน
document รายงานการวิจัยฉบับสมบูรณ์ : คติสัญลักษณ์ของพื้นที่และการจัดการใช้พื้นที่ของวัดในชุมชนหมู่บ้านผู้ไท
document พุทธศาสนากับสิ่งแวดล้อม
document รายงานการวิจัยเรื่องวิเคราะห์ความเข้าใจในหลักพุทธธรรมของพระสงฆ์ในเขตอำเภอเมืองขอ นแก่น จังหวัดขอนแก่น
document วิเคราะห์การทำบุญของคนไทยภายใต้ระบบสังคมบริโภคนิยม
document สรภัญญ์ เพลงขับเพื่อศาสนาและจริยธรรม
document วันสงกรานต์
document การปฏิบัติตนขณะตั้งครรภ์ : การเชื่อมโยงระหว่างความเชื่อดั้งเดิมอีสานกับความรู้ทางการแพทย์สมัยใหม่
document คติความเชื่อและระบบสังคมกับการปลูกสร้างเรือนพื้นบ้านและชุมชนผู้ไท
document คติชนวิทยาที่พบในงานของนักเขียนไทยสมัยรัตนโกสินทร์
document ประเพณีตักบาตรเทโว
document ศึกษาผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ สาระนาฏศิลป์ วิชาเลือกนาฏศิลป์พื้นเมือง เรื่อง ประเพณีผูกเสี่ยวจังหวัดขอนแก่น โดยใช้แผนการจัดการเรียนรู้แบบย้อนกลับ(Backward Design) ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนนครขอนแก่น
document ศาลเจ้าปึงเถ่ากง-ม่า ขอนแก่น
document ประเพณีผูกเสี่ยวจังหวัดขอนแก่น
document งานเทศกาลไหม ประเพณีผูกเสี่ยว และงานกาชาดจังหวัดขอนแก่น
document บุญกฐิน
document ประเพณีขึ้นเฮือนใหม่
document บุญข้าวจี่หรือบุญเดือน ๓
document เบื้องลึกเบื้องหลังพระธาตุนาดูน
document ประวัติวัดศรีคุณเมือง อำเภอเชียงคาน จังหวัดเลย
document ฮีตสิบสอง
document วันสงกรานต์
document วันมาฆบูชา



RSS