มุมอีสานสนเทศ
ค้นหา:     ค้นหาขั้นสูง
เลือกดูตามหมวดหมู่:
English Version

รายงานการวิจัยเชิงคุณภาพเรื่องเจ้าพ่อมอดินแดง : ความเชื่อของนักศึกษา บุคลากร มหาวิทยาลัยขอนแก่น หมู่ 16 ตำบลในเมือง อำเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น เนื้อหาบทความ

รายงานการวิจัยเชิงคุณภาพเรื่องเจ้าพ่อมอดินแดง : ความเชื่อของนักศึกษา บุคลากร มหาวิทยาลัยขอนแก่น หมู่ 16 ตำบลในเมือง อำเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น

แสดงผล: 652
ลงคะแนน: 0
วันที่สร้าง: 29 Jun, 2010
ผู้สร้าง :
วันที่ปรับปรุง : 15 Dec, 2011
ผู้แก้ไขปรับปรุง : นายิกา N.

นิติทัศน์  วิรุณปักษี, เบญจวรรณ  ทรวงโพธิ์, รติพร  วงศ์ศักดิ์, ลลิตา  ชาญชรา, รัตนา  วินทะไชย, สุภาพร  มีอุตส่าห์, สุภาวดี  ปิงแก้ว และอัจฉราพร   อรรคมุด.  (2552).  เจ้าพ่อมอดินแดง : ความเชื่อของนักศึกษา บุคลากร มหาวิทยาลัยขอนแก่น หมู่ 16 ตำบลในเมือง อำเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น.  คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์  มหาวิทยาลัยขอนแก่น.

 

            รายงานการวิจัยเชิงคุณภาพเรื่องเจ้าพ่อมอดินแดง : ความเชื่อของนักศึกษา บุคลากร มหาวิทยาลัยขอนแก่น หมู่ 16 ตำบลในเมือง อำเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น ของ นิติทัศน์  วิรุณปักษี, เบญจวรรณ  ทรวงโพธิ์, รติพร  วงศ์ศักดิ์, ลลิตา  ชาญชรา, รัตนา  วินทะไชย , สุภาพร  มีอุตส่าห์, สุภาวดี  ปิงแก้ว และอัจฉราพร   อรรคมุด เป็นการศึกษาประวัติความเป็นมาของเจ้าพ่อมอดินแดง ความเชื่อในการนับถือองค์เจ้าพ่อมอดินแดงรวมถึงแนวคิดและทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับความเชื่อ และความสัมพันธ์ระหว่างมหาวิทยาลัยขอนแก่นกับเจ้าพ่อมอดินแดนตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน 

ศาลเจ้าพ่อมอดินแดงเดิม

             การสร้างศาลเจ้าพ่อมอดินแดงมีมาก่อนนี้ คือมีรูปแบบเป็นแบบศาลเสาเดียวหรือศาลพระภูมิ  สมัยจอมพลสฤษดิ์  ธนะรัชต์  เป็นนายกรัฐมนตรี ได้มีการสร้างศาลขึ้นมาใหม่ เป็นศาลเพียงตาที่มีสี่เสา  ต่อมาได้มีการสร้างศาลเจ้าพ่อมอดินแดงขึ้นมาใหม่อีกครั้ง  เพื่อให้ดูเหมาะสมกับมหาวิทยาลัยขอนแก่น

                

ศาลเจ้ามอดินแดงปัจจุบัน

           จุดเปลี่ยนจากศาลเก่าเกิดขึ้นจากการต้องการลดความขัดแย้งที่เกิดขึ้นระหว่างชาวมหาวิทยาลัยขอนแก่นกับกลุ่มไม่เห็นด้วยเพราะคิดว่าขัดต่อพระพุทธศาสนาถือเป็นเรื่องงมงาย  สมาคมศิษย์เก่าจึงมีแนวคิดที่จะสร้างศาลเจ้าพ่อใหม่ขึ้น ก่อสร้างแล้วเสร็จในปี พ.ศ.2546 มีการอัญเชิญพระพุทธรูปมาประดิษฐานที่ศาลาธรรมหลังใหม่และมีการอัญเชิญเทวดามาอยู่เป็นองค์เจ้าพ่อมอดินแดง

ศาลเจ้ามอดินแดงปัจจุบัน สร้างเมื่อปี พ.ศ. 2546

            จากการสัมภาษณ์ ผศ.ดร.ชลิต  ชัยครรชิต  ได้เสนอแนวคิดเกี่ยวกับศาลเจ้าพ่อมอดินแดงว่าสามารถแบ่งออกได้เป็น 3 ยุค  คือ 
1. ยุคดั้งเดิม เป็นยุคที่ชาวบ้านมีการนับถือผีอยู่เป็นส่วนมาก เมื่อมีความเชื่อเกิดขึ้นจึงมีการสร้างสัญลักษณ์ขึ้นเพื่อเป็นที่ยึดเหนี่ยวจิตใจ  ชาวบ้านที่มีความเชื่อเรื่องเจ้าพ่อมอดินแดงจึงได้ร่วมกันสร้างศาลพระภูมิขึ้นเพื่อสักการะ
2. ยุคก่อตั้งมหาวิทยาลัยขอนแก่น ยุคนี้เป็นยุคที่มีการเปลี่ยนแปลงจากศาลสี่เสา(ศาลเพียงตา)  คือศาลเดิมในปัจจุบัน
3. ยุคปัจจุบัน ยุคนี้เป็นการเปลี่ยนจากศาลเดิมมาเป็นศาลใหม่และมีการเปลี่ยนแปลงจากเดิมที่มีแต่ผี กลายมาเป็นมีเทวดา และพระพุทธรูป ให้เลือกสักการะตามความเชื่อส่วนบุคคล

สิ่งที่ประชาชนนิยมนำมาถวายเจ้าพ่อ คือ ช้างกับม้า

           การห้อยกระดิ่งที่รั้วศาลเจ้าพ่อมอดินแดงเพื่อแสดงถึงการวอนขอต่อเจ้าพ่อมอดินแดงด้วยการเขียนความต้องการไว้ที่กระดาษแล้วห้อยกับกระดิ่ง ซึ่งสันนิษฐานว่า การห้อยกระดิ่งเพื่อวอนขอต่อเจ้าพ่อดินแดงเกิดจากการที่นักศึกษาญี่ปุ่นที่อยู่ในมหาวิทยาลัยขอนแก่นมาสักการะเจ้าพ่อมอดินแดงแล้วได้มีการบนบานขอสิ่งต่างๆ โดยการเขียนข้อความใส่กระดาษห้อยติดกับกระดิ่ง เพื่อที่จะได้บันดารให้เกิดผลตามความต้องการ

คำกล่าวสักการะเจ้าพ่อดินแดง

เอกสารงานวิจัยฉบับเต็ม1

เอกสารงานวิจัยฉบับเต็ม2

 



ลิขสิทธิ์ © 2012 สงวนลิขสิทธิ์ ห้ามทำซ้ำทั้งหมดหรือบางส่วน ไม่ว่าในรูปแบบใดโดยไม่ได้รับอนุญาตจากผู้ดูแลเว็บไซต์เป็นลายลักษณ์อักษร
ติดต่อผู้ดูแลเว็บไซต์ : somphot@kku.ac.th ผู้พัฒนาโปรแกรม
หมวดหมู่อื่น ๆ
document การละเล่นสะบ้าในประเพณีตรุษไทยภูผาม่าน
document หลวงพ่อพระยืนมิ่งมงคล
document ประเพณีบุญบั้งไฟ อำเภอกระนวน
document พระพุทธรูปโบราณ อำเภอซำสูง
document การศึกษาความเชื่อเกี่ยวกับการใช้ผ้าไหมมัดหมี่ของชาวอำเภอชนบทจังหวัดขอนแก่น
document ความเชื่อเรื่องผ้าไหมมัดหมี่ของชาวอีสาน
document สิม
document ศักยภาพทางเศรษฐกิจของชุมชนหมู่บ้านอีสานจากอดีตถึงปัจจุบัน
document เศรษฐกิจชุมชนหมู่บ้านอีสาน : ประวัติศาสตร์เศรษฐกิจอีสานหลังสงครามโลกครั้งที่สองถึงปัจจุบัน (2488-2544)
document เศรษฐกิจชุมชนหมู่บ้านอีสานใต้ : ความอยู่รอดของชุมชนท่ามกลางกระแสความเปลี่ยนแปลง
document ข้อมูลวัด จังหวัดขอนแก่น
document บุคคลสำคัญทางศาสนา จังหวัดขอนแก่น
document ประเพณีแต่งงานชาวอีสาน (ประเพณีกินดอง)
document รายงานการวิจัยเรื่องศักยภาพของชุมชนอีสาน : กรณีศึกษาบ้านฝาง
document การผลิตบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนเรื่องศิลปวัฒนธรรมในกลุ่มสร้างเสริมประสบการณ์ชีว ิต ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ตอน ศิลปวัฒนธรรมและขนบธรรมเนียมประเพณี
document การสำรวจสถานภาพองค์ความรู้เบื้องต้นจากงานวิจัยเกี่ยวกับวิถีชีวิตทางสังคมและวัฒนธ รรมของกลุ่มชาติพันธุ์ ในภาคอีสาน พ.ศ. 2500-2545
document คติชน : คุณค่าในการท่องเที่ยวชุมชนบ้านโคกม่วง
document ความสัมพันธ์หญิงชายภายใต้กระแสการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม
document ทัศนคติของชาวชนบทอีสานต่อการทำบุญ
document ประเพณี คติความเชื่อมีอิทธิพลต่องานสถาปัตยกรรมพื้นถิ่นอีสาน
document ประเพณีผูกเสี่ยว
document พฤติกรรมการทำบุญของชาวพุทธในเขตอำเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น
document รายงานการวิจัยเรื่องทัศนคติของชาวชนบทอีสานต่อการทำบุญ
document รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์เรื่องรูปแบบศิลปวัฒนธรรมประเพณีการฟ้อนแห่ต้นดอกไม้ : กรณีศึกษาบ้านอาฮี หมู่ที่ 1,6 ตำบลอาฮี อำเภอท่าลี่ จังหวัดเลย
document รายงานวิจัยเรื่องเศรษฐกิจชุมชนหมู่บ้านอีสานห้าทศวรรษหลังสงครามโลกครั้งที่สอง (พ.ศ. 2488-2543) : กรณีศึกษาบ้านบัว จังหวัดสกลนคร
document รายงานวิจัยเรื่องเศรษฐกิจชุมชนหมู่บ้านอีสานห้าทศวรรษหลังสงครามโลกครั้งที่สอง (พ.ศ. 2488-2543) : กรณีศึกษาบ้านโนนม่วง จังหวัดร้อยเอ็ด
document รายงานวิจัยเรื่องเศรษฐกิจชุมชนหมู่บ้านอีสานห้าทศวรรษหลังสงครามโลกครั้งที่สอง (พ.ศ. 2488-2544) : กรณีศึกษาบ้านวังสวาบ จังหวัดขอนแก่น
document วัฒนธรรมอีสานกับการพัฒนา
document วิถีครอบครัวและชุมชนชาติพันธุ์ไทยโย้ย บ้านโพนแพง ตำบลหนองสนม อำเภอวานรนิวาส จังหวัดสกลนคร
document รายงานการวิจัยเรื่องการศึกษาโครงสร้างชุมชนชาติพันธุ์ผู้ไทย บ้านโนนหอม ตำบลโนนหอม อำเภอเมือง จังหวัดสกลนคร
document ความเชื่อเรื่องปู่ตาตะกวดกับวิถีชีวิตของชาวกูยบ้านตรึม ตำบลตรึม อำเภอศรีขรภูมิ จังหวัดสุรินทร์
document ประเพณีและเทศกาลจังหวัดขอนแก่น
document วัดป่าบ้านตาด
document วัดถ้ำกลองเพล
document วัดบูรพาภิราม
document หมู่บ้านวัฒนธรรมผู้ไทยโคกโก่ง
document วัดสุปัฏนารามวรวิหาร
document วัดถ้ำแสงเพชร
document ประเพณีบุญพระเวส หรือบุนพะเหวด
document คติชน : คุณค่าในการท่องเที่ยวชุมชนบ้านโคกม่วง
document พระมงคลมิ่งเมือง (พระยืน)
document วัดพระบาทภูพานคำ
document ศาลเจ้าพ่อมอดินแดง
document สิม (โบสถ์) 2
document สิม (โบสถ์) 1
document หลวงพ่อพระยืนมิ่งมงคล
document ตำราปลูกเฮือน ฉบับวัดบ้านดอนยม ตำบลท่าขอนยาง อำเภอกันทรวิชัย จังหวัดมหาสารคาม
document ตำราปลูกเฮือน ฉบับสำนักสงฆ์อิสระธรรมวิเวก บ้านคกเหลี่ยน-หนองขอน ตำบลวังแสง อำเภอแกดำ จังหวัดมหาสารคาม
document คาถา ต้นฉบับวัดศรีเวียงชัย บ้านดอนเวียงจันทน์ ตำบลท่าขอนยาง อำเภอกันทรวิชัย จังหวัดมหาสารคาม
document คติชน : คุณค่าในการท่องเที่ยวชุมชนบ้านโคกม่วง
document ความเชื่อเกี่ยวกับต้นไม้ของชาวบ้านศึกษาเฉพาะกรณีหมู่บ้านโนนอำนวย อำเภอท่าคันโท จังหวัดกาฬสินธุ์ และหมู่บ้านทุ่งสว่าง อำเภอหนองบัวแดง จังหวัดชัยภูมิ
document ฒ ผู้เฒ่าต้องมอง
document การบริโภคสุนัขในจังหวัดสกลนคร
document การปรับตัวทางวัฒนธรรมของกลุ่มชาติพันธุ์ไทแดง บ้านโพนทอง เมืองนาทรายทอง นะคอนหลวงเวียงจันทน์ สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว
document การแต่งงานข้ามวัฒนธรรมหญิงไทยกับชายญี่ปุ่น
document บทบาทของวัดต่อชุมชนในชนบท จังหวัดขอนแก่น
document ความสัมพันธ์หญิงชายภายใต้กระแสการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม
document เจ้าโคตร : ผู้เว้าแล้วแล้วโลด
document ปราสาทขอมหายไปไหน? เขมรทำลายหรือใครกันแน่
document ภูมิปัญญาพื้นบ้านศาลผีปู่ตา อำเภอสีชมพู จังหวัดขอนแก่น.
document ลำส่องที่พึ่งสุดท้ายของผู้ป่วยในภาคอีสานจริงหรือ?
document สรภัญญ์ : ภูมิปัญญาชาวบ้านกับบทบาทในสังคมอีสาน
document รายงานการวิจัยฉบับสมบูรณ์ : คติสัญลักษณ์ของพื้นที่และการจัดการใช้พื้นที่ของวัดในชุมชนหมู่บ้านผู้ไท
document พุทธศาสนากับสิ่งแวดล้อม
document รายงานการวิจัยเรื่องวิเคราะห์ความเข้าใจในหลักพุทธธรรมของพระสงฆ์ในเขตอำเภอเมืองขอ นแก่น จังหวัดขอนแก่น
document วิเคราะห์การทำบุญของคนไทยภายใต้ระบบสังคมบริโภคนิยม
document สรภัญญ์ เพลงขับเพื่อศาสนาและจริยธรรม
document วันสงกรานต์
document การปฏิบัติตนขณะตั้งครรภ์ : การเชื่อมโยงระหว่างความเชื่อดั้งเดิมอีสานกับความรู้ทางการแพทย์สมัยใหม่
document คติความเชื่อและระบบสังคมกับการปลูกสร้างเรือนพื้นบ้านและชุมชนผู้ไท
document คติชนวิทยาที่พบในงานของนักเขียนไทยสมัยรัตนโกสินทร์
document ประเพณีตักบาตรเทโว
document ศึกษาผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ สาระนาฏศิลป์ วิชาเลือกนาฏศิลป์พื้นเมือง เรื่อง ประเพณีผูกเสี่ยวจังหวัดขอนแก่น โดยใช้แผนการจัดการเรียนรู้แบบย้อนกลับ(Backward Design) ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนนครขอนแก่น
document ศาลเจ้าปึงเถ่ากง-ม่า ขอนแก่น
document ประเพณีผูกเสี่ยวจังหวัดขอนแก่น
document งานเทศกาลไหม ประเพณีผูกเสี่ยว และงานกาชาดจังหวัดขอนแก่น
document บุญกฐิน
document ประเพณีขึ้นเฮือนใหม่
document บุญข้าวจี่หรือบุญเดือน ๓
document เบื้องลึกเบื้องหลังพระธาตุนาดูน
document ประวัติวัดศรีคุณเมือง อำเภอเชียงคาน จังหวัดเลย
document ฮีตสิบสอง
document วันสงกรานต์
document วันมาฆบูชา



RSS